กระดานความรู้สึก


สวัสดีวันเสาร์เรื่องเล่าริมกำแพง
[xml xmlns:o="urn:schemas-microsoft-com:office:office"]
[o:MainFile HRef="../เธชเธ–เธฒเธ›เธฑเธ•เธขเธเธฃเธฃเธกเน„เธ—เธขเธžเธทเน‰เธ™เธ–เธดเนˆเธ™%20%20เธ เธฒเธ„เธญเธตเธชเธฒเธ™%20%20(w.w.w).htm"/]
[o:File HRef="image001.png"/]
[o:File HRef="image002.jpg"/]
[o:File HRef="image003.jpg"/]
[o:File HRef="image004.jpg"/]
[o:File HRef="image005.jpg"/]
[o:File HRef="image006.jpg"/]
[o:File HRef="filelist.xml"/]
[/xml]
โดยคุณ : ขิงดิ้น - [5:10:30  25 พ.ย. 2544]

ความคิดเห็นที่ 1
วาย.......(^-^')
ขอประทานอภัย กำลังลองส่งข้อความยาวๆเป็นรหัสอยู่ครับ เขียนมันซะยืดยาวเลยปรากฎว่าส่งออกไปไม่ได้ มีใครพอจะช่วยผมได้บ้างครับ (^-^')
โดยคุณ :ขิงดิ้น - [5:14:02  25 พ.ย. 2544]

ความคิดเห็นที่ 2
สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน
[img]C:\WINDOWS\Desktop\ข้อมูลของกู อย่ายุ่ง !\My Pictures\พี่ฝากไว้ก่อนน๊ะ\สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน (w.w.w).files\image001.png[/img]
เฮือนไทยภาคอีสาน
ชาวไทยอีสาน เข้าไปตั้งถิ่นฐานในแถบบริเวณพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาไม่เกิน 300 ปี กล่าว คือ เข้าไปอาศัยอยู่ในช่วงสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของสยามประเทศนั้นเอง ดังนั้นสถาปัตยกรรมบ้านพักอาศัยทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมได้รับอิทธิพลมาจากสกุลช่างทางฝั่งตรงข้ามลุ่มแม่นำโขงหรือที่เรียกกันว่าสกุลช่างล้านช้าง เสียเกือบทั้งหมดก็ว่าได้
ชาวไทย-อีสาน ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในระยะแรกนั้น จะต้องเลือกทำเลที่เอื้อต่อการยังชีพของตนและสัตย์เลี้ยง ดังที่กล่าวไว้แล้วในกระทู้ที่ผ่านมา



ชาวอีสานจะไม่นิยมสร้างเรือนขวางตะวัน พวกเขาจะสร้างเรือนในลักษณะที่หันหน้าไปทางทิศเหนือหรือทิศใต้ เพราะเนื่องมาจากเหตุผลทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่แถบนี้ซึ่งมีลักษณะที่แห้งแร้ง(หนาวจัด-ร้อนจัด) ดังนั้นการจัดวางตัวเรือนในลักษณ์ดังที่กล่าวมาจะทำให้ ได้รับลมแร้งน้อยกว่า เนื่องจากพื้นที่ของประเทศไทยนั้นใน

- ฤดูหนาว จะได้รับลมมรสุมจาก ประเทศมองโกเลีย ทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

- ฤดูร้อน จะได้รับลมมรสุมจาก ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะ- วันออกเฉียงใต้

- ฤดูฝน จะได้รับลมมรสุมจาก มหาสมุทรอินเดีย ทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้

[img]C:\WINDOWS\Desktop\ข้อมูลของกู อย่ายุ่ง !\My Pictures\พี่ฝากไว้ก่อนน๊ะ\สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน (w.w.w).files\image003.jpg[/img]
ดังนั้นการจัดวางตัวเรือนในลักษณะเช่นนี้จึงช่วยได้มากในการให้ความอบอุ่นต่อครอบครัวและสัตร์เลี้ยง
คำว่า “ เฮือน ” หรือ “ เรือน ” ของชาวอีสานที่เป็นเรือนไม้กระดานหรือที่ภาษาวิชาการเรียกกันว่าเรือนเครื่องสับ จะต้องมีองค์ประกอบดังนี้




1. เฮือนใหญ่ แบ่งพื้นที่ใช้สอยออกเป็น 3 ส่วน

-ห้องพ่อ,แม่ อาจมีฝากั้นหรือเปิด โล่งต่อกับห้องเปิง
-ห้องเปิง เป็นชื่อเรียกห้อง นอนของลูกชาย
-ห้องส้วม เป็นชื่อเรียกห้อง นอนลูกสาวมีฝากั้น ทุกด้านค่อนข้างมิด-
ชิด

-บริเวณใต้ถุนเรือน ใช้เป็นคอก ควายคอกวัว และ เก็บอุปกรณ์ในการ ทำไร่ทำนาบางส่วน ตั้งแคร่ไม้ไผ่ไว้ใช้ นอนเล่นพักผ่อนใน เวาลกลางวันและใช้ ทำหัตกรรมพื้นบ้าน อาทิ ทอผ้า ทำจักร สาน ฯลฯ

2. ชานแดด เป็นชานโล่งที่ยื่นออก มามีระดับพื้นชาน ลด ลงจากตัวเรือน ใช้นั่ง เล่นพักผ่อนและรับประ ทานอาหารในตอนเย็น

3. เฮือนไฟ ครัว

4. ฮ้างแอ่งนํ้า ร้านนํ้าหรือที่วาง ตุ่ม นํ้าเอาไว้สำหรับดื่มนํ้า
[img]C:\WINDOWS\Desktop\ข้อมูลของกู อย่ายุ่ง !\My Pictures\พี่ฝากไว้ก่อนน๊ะ\สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน (w.w.w).files\image005.jpg[/img]
-เจ้าของบ้าน นางเคน กุยหมุด อายุ 66 ปี

-สถานที่ บ้านเลขที่ 47 หมู่ 2 ต.ลำ คลอง อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์

-อาชีพ ทำนาและรับจ้างทั่วไป

-ชนิดเรือน เรือนเหย้ากึ่งถาวร ชนิดดั้ง ตั้งคาน

-โครงสร้าง โครงสร้างไม้เต็งและไม้รัง
-ผนัง มี 2 ลักษณะ
-แบบไม้กระดานตีเรียงตามแนวนอน
-แบบฝาไม้ไผ่ขัดแตะ
-หลังคาโครงสร้างไม้มุงด้วย แผ่นสังกะสี


-ลักษณะเรือน เป็นเรือนเปิดโล่งมี ช่องระบายอากาศด้านบน ในส่วนชานเรือนมีผนังไม้ต่อ ติดกัน 3 ด้าน ไม่มีหน้าต่าง
ภายในเรือนกั้นห้องนอนเป็น สัดส่วน มีเกย(ชานโล่ง)
เล่นระดับพื้นเรือนลดหลั่นลง มาจากพื้นเรือนใหญ่
ตัวเรือนยกพื้นสูง ส่วน ใต้ถุนเรือนใช้เป็นที่เก็บ
อุปกรณ์ทำนา มีแคร่ไม้ไผ่ ใช้นอนเล่นพักผ่อน และ
ทำหัถกรรม


-การจัดพื้นที่ใช้สอยแบ่งออกเป็น 2ส่วน

1. พื้นที่ทางเข้า มีลักษณะ เปิดโล่งเป็นชานเปิดโล่ง (เกย)ยกระดับ จากพื้น ดิน ประมาณ 0.90 ม. มีรั้วไม้ไผ่ยึดติดเพื่อกัน ตก ในส่วนนี้จะแบ่งพื้นที่ ไว้สำหรับวางโอ่งเก็บนำ ฝนไว้ใช้สำหรับหุงต้ม และซักล้างด้วย

2. พื้นที่ชานเรือนหรือตัว เรือน ในส่วนนี้มีลักษณะ ทึบ เนื่องจากตีพนังปิด ทั้ง 3 ด้าน เว้นส่วนหน้า เรือนเท่านั้นที่เปิดโล่ง เชื่อมต่อกับเกย ซึ่งส่วน นี้จะมีการยกระดับให้สูง กว่าเกย เนื่องด้วย เหตุผลของการแบ่งสัด ส่วนแล้วยังเป็นเหตุผล ของระบายอากาศเพื่อ ให้อากาศภายในและ ภายนอกถ่ายเทถึงกัน อีกด้วย ภายในส่วนตัว เรือนนี้แยกย่อยพื้นที่ใช้ สอยออกเป็น 3 ส่วน

- สวนเรือนชาน (โถงบ้านเรานั้นแหละ)จะจัดวางต่อจากเกยเป็นพื้นที่อเนกประสงค์ในเวลากลางคืน ทั้งเป็นพื้นที่รับประทานอาหารเย็น-เช้า แล้วยังเป็นส่วนที่ใช้พุดคุยสารทุกข์สุขดิบกันอีกด้วย

- ส่วนครัว ถูกจัดวางอยูทางส่วนหน้าที่ต่อจากเกย โดยแบ่งพื้นที่มาจากส่วนเรือนชาน มีลักษณะเป็นแบบครัวไฟของไทย(หุงต้มด้วยเตาถ่าน)

- ส่วนนอน ส่วนนี้จะถูกกันเป็นห้องผนังทำด้วยไม้ไผ่สาน มีประตูปิดมิดชิด ส่วนนี้จะไม่อนุญาตให้บุคคลอื่นหรือแขกเข้าไปเยี่ยมชมนอกจากสมาชิกภายในบ้านเท่านั้น การจัดวาง จะจัดวางพื้นที่ส่วนนี้ไว้ภายในสุด ซึ่งต่อจากส่วนครัวเข้าไป


-บริเวณรอบบ้าน มีการปลูกพืชสวน ครัว บริเวณข้าง- บ้าน และปลูกไม้ผล ยืนต้น เช่น มะม่วง

[font color="black",size="2"][b]-หมายเหตุ :
(สำรวจเมื่อ 2 /พค./ 2539)
โดยคุณ :ขิงดิ้น - [6:59:22  25 พ.ย. 2544]

ความคิดเห็นที่ 3
สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน
[img]C:\WINDOWS\Desktop\ข้อมูลของกู อย่ายุ่ง !\My Pictures\พี่ฝากไว้ก่อนน๊ะ\สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน (w.w.w).files\image001.png[/img]
เฮือนไทยภาคอีสาน
ชาวไทยอีสาน เข้าไปตั้งถิ่นฐานในแถบบริเวณพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาไม่เกิน 300 ปี กล่าว คือ เข้าไปอาศัยอยู่ในช่วงสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของสยามประเทศนั้นเอง ดังนั้นสถาปัตยกรรมบ้านพักอาศัยทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมได้รับอิทธิพลมาจากสกุลช่างทางฝั่งตรงข้ามลุ่มแม่นำโขงหรือที่เรียกกันว่าสกุลช่างล้านช้าง เสียเกือบทั้งหมดก็ว่าได้
ชาวไทย-อีสาน ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในระยะแรกนั้น จะต้องเลือกทำเลที่เอื้อต่อการยังชีพของตนและสัตย์เลี้ยง ดังที่กล่าวไว้แล้วในกระทู้ที่ผ่านมา



ชาวอีสานจะไม่นิยมสร้างเรือนขวางตะวัน พวกเขาจะสร้างเรือนในลักษณะที่หันหน้าไปทางทิศเหนือหรือทิศใต้ เพราะเนื่องมาจากเหตุผลทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่แถบนี้ซึ่งมีลักษณะที่แห้งแร้ง(หนาวจัด-ร้อนจัด) ดังนั้นการจัดวางตัวเรือนในลักษณ์ดังที่กล่าวมาจะทำให้ ได้รับลมแร้งน้อยกว่า เนื่องจากพื้นที่ของประเทศไทยนั้นใน

- ฤดูหนาว จะได้รับลมมรสุมจาก ประเทศมองโกเลีย ทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

- ฤดูร้อน จะได้รับลมมรสุมจาก ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะ- วันออกเฉียงใต้

- ฤดูฝน จะได้รับลมมรสุมจาก มหาสมุทรอินเดีย ทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้

[img]C:\WINDOWS\Desktop\ข้อมูลของกู อย่ายุ่ง !\My Pictures\พี่ฝากไว้ก่อนน๊ะ\สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน (w.w.w).files\image003.jpg[/img]
ดังนั้นการจัดวางตัวเรือนในลักษณะเช่นนี้จึงช่วยได้มากในการให้ความอบอุ่นต่อครอบครัวและสัตร์เลี้ยง
คำว่า “ เฮือน ” หรือ “ เรือน ” ของชาวอีสานที่เป็นเรือนไม้กระดานหรือที่ภาษาวิชาการเรียกกันว่าเรือนเครื่องสับ จะต้องมีองค์ประกอบดังนี้




1. เฮือนใหญ่ แบ่งพื้นที่ใช้สอยออกเป็น 3 ส่วน

-ห้องพ่อ,แม่ อาจมีฝากั้นหรือเปิด โล่งต่อกับห้องเปิง
-ห้องเปิง เป็นชื่อเรียกห้อง นอนของลูกชาย
-ห้องส้วม เป็นชื่อเรียกห้อง นอนลูกสาวมีฝากั้น ทุกด้านค่อนข้างมิด-
ชิด

-บริเวณใต้ถุนเรือน ใช้เป็นคอก ควายคอกวัว และ เก็บอุปกรณ์ในการ ทำไร่ทำนาบางส่วน ตั้งแคร่ไม้ไผ่ไว้ใช้ นอนเล่นพักผ่อนใน เวาลกลางวันและใช้ ทำหัตกรรมพื้นบ้าน อาทิ ทอผ้า ทำจักร สาน ฯลฯ

2. ชานแดด เป็นชานโล่งที่ยื่นออก มามีระดับพื้นชาน ลด ลงจากตัวเรือน ใช้นั่ง เล่นพักผ่อนและรับประ ทานอาหารในตอนเย็น

3. เฮือนไฟ ครัว

4. ฮ้างแอ่งนํ้า ร้านนํ้าหรือที่วาง ตุ่ม นํ้าเอาไว้สำหรับดื่มนํ้า
[img]C:\WINDOWS\Desktop\ข้อมูลของกู อย่ายุ่ง !\My Pictures\พี่ฝากไว้ก่อนน๊ะ\สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน (w.w.w).files\image005.jpg[/img]
-เจ้าของบ้าน นางเคน กุยหมุด อายุ 66 ปี

-สถานที่ บ้านเลขที่ 47 หมู่ 2 ต.ลำ คลอง อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์

-อาชีพ ทำนาและรับจ้างทั่วไป

-ชนิดเรือน เรือนเหย้ากึ่งถาวร ชนิดดั้ง ตั้งคาน

-โครงสร้าง โครงสร้างไม้เต็งและไม้รัง
-ผนัง มี 2 ลักษณะ
-แบบไม้กระดานตีเรียงตามแนวนอน
-แบบฝาไม้ไผ่ขัดแตะ
-หลังคาโครงสร้างไม้มุงด้วย แผ่นสังกะสี


-ลักษณะเรือน เป็นเรือนเปิดโล่งมี ช่องระบายอากาศด้านบน ในส่วนชานเรือนมีผนังไม้ต่อ ติดกัน 3 ด้าน ไม่มีหน้าต่าง
ภายในเรือนกั้นห้องนอนเป็น สัดส่วน มีเกย(ชานโล่ง)
เล่นระดับพื้นเรือนลดหลั่นลง มาจากพื้นเรือนใหญ่
ตัวเรือนยกพื้นสูง ส่วน ใต้ถุนเรือนใช้เป็นที่เก็บ
อุปกรณ์ทำนา มีแคร่ไม้ไผ่ ใช้นอนเล่นพักผ่อน และ
ทำหัถกรรม


-การจัดพื้นที่ใช้สอยแบ่งออกเป็น 2ส่วน

1. พื้นที่ทางเข้า มีลักษณะ เปิดโล่งเป็นชานเปิดโล่ง (เกย)ยกระดับ จากพื้น ดิน ประมาณ 0.90 ม. มีรั้วไม้ไผ่ยึดติดเพื่อกัน ตก ในส่วนนี้จะแบ่งพื้นที่ ไว้สำหรับวางโอ่งเก็บนำ ฝนไว้ใช้สำหรับหุงต้ม และซักล้างด้วย

2. พื้นที่ชานเรือนหรือตัว เรือน ในส่วนนี้มีลักษณะ ทึบ เนื่องจากตีพนังปิด ทั้ง 3 ด้าน เว้นส่วนหน้า เรือนเท่านั้นที่เปิดโล่ง เชื่อมต่อกับเกย ซึ่งส่วน นี้จะมีการยกระดับให้สูง กว่าเกย เนื่องด้วย เหตุผลของการแบ่งสัด ส่วนแล้วยังเป็นเหตุผล ของระบายอากาศเพื่อ ให้อากาศภายในและ ภายนอกถ่ายเทถึงกัน อีกด้วย ภายในส่วนตัว เรือนนี้แยกย่อยพื้นที่ใช้ สอยออกเป็น 3 ส่วน

- สวนเรือนชาน (โถงบ้านเรานั้นแหละ)จะจัดวางต่อจากเกยเป็นพื้นที่อเนกประสงค์ในเวลากลางคืน ทั้งเป็นพื้นที่รับประทานอาหารเย็น-เช้า แล้วยังเป็นส่วนที่ใช้พุดคุยสารทุกข์สุขดิบกันอีกด้วย

- ส่วนครัว ถูกจัดวางอยูทางส่วนหน้าที่ต่อจากเกย โดยแบ่งพื้นที่มาจากส่วนเรือนชาน มีลักษณะเป็นแบบครัวไฟของไทย(หุงต้มด้วยเตาถ่าน)

- ส่วนนอน ส่วนนี้จะถูกกันเป็นห้องผนังทำด้วยไม้ไผ่สาน มีประตูปิดมิดชิด ส่วนนี้จะไม่อนุญาตให้บุคคลอื่นหรือแขกเข้าไปเยี่ยมชมนอกจากสมาชิกภายในบ้านเท่านั้น การจัดวาง จะจัดวางพื้นที่ส่วนนี้ไว้ภายในสุด ซึ่งต่อจากส่วนครัวเข้าไป


-บริเวณรอบบ้าน มีการปลูกพืชสวน ครัว บริเวณข้าง- บ้าน และปลูกไม้ผล ยืนต้น เช่น มะม่วง

[font color="black",size="2"][b]-หมายเหตุ :
(สำรวจเมื่อ 2 /พค./ 2539)
โดยคุณ :ขิงดิ้น - [7:01:51  25 พ.ย. 2544]

ความคิดเห็นที่ 4
เฮื้อ??.....!! รูปหายไปประทานอภัยขออีกที่แล้วกัน(^-^')


สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ภาคอีสาน
<br>
<br>เฮือนไทยภาคอีสาน
<br> ชาวไทยอีสาน เข้าไปตั้งถิ่นฐานในแถบบริเวณพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาไม่เกิน 300 ปี กล่าว คือ เข้าไปอาศัยอยู่ในช่วงสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของสยามประเทศนั้นเอง ดังนั้นสถาปัตยกรรมบ้านพักอาศัยทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมได้รับอิทธิพลมาจากสกุลช่างทางฝั่งตรงข้ามลุ่มแม่นำโขงหรือที่เรียกกันว่าสกุลช่างล้านช้าง เสียเกือบทั้งหมดก็ว่าได้
<br> ชาวไทย-อีสาน ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในระยะแรกนั้น จะต้องเลือกทำเลที่เอื้อต่อการยังชีพของตนและสัตย์เลี้ยง ดังที่กล่าวไว้แล้วในกระทู้ที่ผ่านมา
<br>
<br>
<br>
<br> ชาวอีสานจะไม่นิยมสร้างเรือนขวางตะวัน พวกเขาจะสร้างเรือนในลักษณะที่หันหน้าไปทางทิศเหนือหรือทิศใต้ เพราะเนื่องมาจากเหตุผลทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่แถบนี้ซึ่งมีลักษณะที่แห้งแร้ง(หนาวจัด-ร้อนจัด) ดังนั้นการจัดวางตัวเรือนในลักษณ์ดังที่กล่าวมาจะทำให้ ได้รับลมแร้งน้อยกว่า เนื่องจากพื้นที่ของประเทศไทยนั้นใน
<br>
<br>- ฤดูหนาว จะได้รับลมมรสุมจาก ประเทศมองโกเลีย ทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
<br>
<br>- ฤดูร้อน จะได้รับลมมรสุมจาก ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะ- วันออกเฉียงใต้
<br>
<br> - ฤดูฝน จะได้รับลมมรสุมจาก มหาสมุทรอินเดีย ทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้

<br>
<br> ดังนั้นการจัดวางตัวเรือนในลักษณะเช่นนี้จึงช่วยได้มากในการให้ความอบอุ่นต่อครอบครัวและสัตร์เลี้ยง
<br>คำว่า “ เฮือน ” หรือ “ เรือน ” ของชาวอีสานที่เป็นเรือนไม้กระดานหรือที่ภาษาวิชาการเรียกกันว่าเรือนเครื่องสับ จะต้องมีองค์ประกอบดังนี้
]/font]
<br>
<br>
<br>
<br>[font color="black",size="4"]1. เฮือนใหญ่
แบ่งพื้นที่ใช้สอยออกเป็น 3 ส่วน
<br>
<br>-ห้องพ่อ,แม่ ]b]อาจมีฝากั้นหรือเปิด โล่งต่อกับห้องเปิง[/b]
<br>-ห้องเปิง เป็นชื่อเรียกห้อง นอนของลูกชาย
<br>-ห้องส้วม เป็นชื่อเรียกห้อง นอนลูกสาวมีฝากั้น ทุกด้านค่อนข้างมิด-
<br> ชิด

<br>-บริเวณใต้ถุนเรือน ใช้เป็นคอก ควายคอกวัว และ เก็บอุปกรณ์ในการ ทำไร่ทำนาบางส่วน ตั้งแคร่ไม้ไผ่ไว้ใช้ นอนเล่นพักผ่อนใน เวาลกลางวันและใช้ ทำหัตกรรมพื้นบ้าน อาทิ ทอผ้า ทำจักร สาน ฯลฯ
<br>
<br>2. ชานแดด เป็นชานโล่งที่ยื่นออก มามีระดับพื้นชาน ลด ลงจากตัวเรือน ใช้นั่ง เล่นพักผ่อนและรับประ ทานอาหารในตอนเย็น
<br>
<br>3. เฮือนไฟ ครัว
<br>
<br>4. ฮ้างแอ่งนํ้า ร้านนํ้าหรือที่วาง ตุ่ม นํ้าเอาไว้สำหรับดื่มนํ้า
<br>
<br>-เจ้าของบ้าน นางเคน กุยหมุด อายุ 66 ปี
<br>
<br>-สถานที่ บ้านเลขที่ 47 หมู่ 2 ต.ลำ คลอง อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
<br>
<br>-อาชีพ ทำนาและรับจ้างทั่วไป
<br>
<br>-ชนิดเรือน เรือนเหย้ากึ่งถาวร ชนิดดั้ง ตั้งคาน
<br>
<br>-โครงสร้าง โครงสร้างไม้เต็งและไม้รัง
<br> -ผนัง มี 2 ลักษณะ
<br>-แบบไม้กระดานตีเรียงตามแนวนอน
<br>-แบบฝาไม้ไผ่ขัดแตะ
<br> -หลังคาโครงสร้างไม้มุงด้วย แผ่นสังกะสี

<br>
<br>-ลักษณะเรือน เป็นเรือนเปิดโล่งมี ช่องระบายอากาศด้านบน ในส่วนชานเรือนมีผนังไม้ต่อ ติดกัน 3 ด้าน ไม่มีหน้าต่าง
<br> ภายในเรือนกั้นห้องนอนเป็น สัดส่วน มีเกย(ชานโล่ง)
<br> เล่นระดับพื้นเรือนลดหลั่นลง มาจากพื้นเรือนใหญ่
<br>ตัวเรือนยกพื้นสูง ส่วน ใต้ถุนเรือนใช้เป็นที่เก็บ
<br>อุปกรณ์ทำนา มีแคร่ไม้ไผ่ ใช้นอนเล่นพักผ่อน และ
<br>ทำหัถกรรม

<br>
<br>-การจัดพื้นที่ใช้สอยแบ่งออกเป็น 2ส่วน
<br>
<br>1. พื้นที่ทางเข้า มีลักษณะ เปิดโล่งเป็นชานเปิดโล่ง (เกย)ยกระดับ จากพื้น ดิน ประมาณ 0.90 ม. มีรั้วไม้ไผ่ยึดติดเพื่อกัน ตก ในส่วนนี้จะแบ่งพื้นที่ ไว้สำหรับวางโอ่งเก็บนำ ฝนไว้ใช้สำหรับหุงต้ม และซักล้างด้วย
<br>
<br>2. พื้นที่ชานเรือนหรือตัว เรือน ในส่วนนี้มีลักษณะ ทึบ เนื่องจากตีพนังปิด ทั้ง 3 ด้าน เว้นส่วนหน้า เรือนเท่านั้นที่เปิดโล่ง เชื่อมต่อกับเกย ซึ่งส่วน นี้จะมีการยกระดับให้สูง กว่าเกย เนื่องด้วย เหตุผลของการแบ่งสัด ส่วนแล้วยังเป็นเหตุผล ของระบายอากาศเพื่อ ให้อากาศภายในและ ภายนอกถ่ายเทถึงกัน อีกด้วย ภายในส่วนตัว เรือนนี้แยกย่อยพื้นที่ใช้ สอยออกเป็น 3 ส่วน
<br>
<br>- สวนเรือนชาน (โถงบ้านเรานั้นแหละ)จะจัดวางต่อจากเกยเป็นพื้นที่อเนกประสงค์ในเวลากลางคืน ทั้งเป็นพื้นที่รับประทานอาหารเย็น-เช้า แล้วยังเป็นส่วนที่ใช้พุดคุยสารทุกข์สุขดิบกันอีกด้วย
<br>
<br>- ส่วนครัว ถูกจัดวางอยูทางส่วนหน้าที่ต่อจากเกย โดยแบ่งพื้นที่มาจากส่วนเรือนชาน มีลักษณะเป็นแบบครัวไฟของไทย(หุงต้มด้วยเตาถ่าน)
<br>
<br>- ส่วนนอน ส่วนนี้จะถูกกันเป็นห้องผนังทำด้วยไม้ไผ่สาน มีประตูปิดมิดชิด ส่วนนี้จะไม่อนุญาตให้บุคคลอื่นหรือแขกเข้าไปเยี่ยมชมนอกจากสมาชิกภายในบ้านเท่านั้น การจัดวาง จะจัดวางพื้นที่ส่วนนี้ไว้ภายในสุด ซึ่งต่อจากส่วนครัวเข้าไป

<br>
<br>-บริเวณรอบบ้าน มีการปลูกพืชสวน ครัว บริเวณข้าง- บ้าน และปลูกไม้ผล ยืนต้น เช่น มะม่วง
<br>
<br>[font color="black",size="2"][b]-หมายเหตุ :
(สำรวจเมื่อ 2 /พค./ 2539)
โดยคุณ :ขิงดิ้น - [9:32:29  25 พ.ย. 2544]

ความคิดเห็นที่ 5
ขิงดิ้นจ๋า...
รูปที่จะใช้แปะจะต้องอัพโหลดขึ้นบนเว็บก่อนจ้ะ..
ไว้ที่ไหนก็ได้ แล้วค่อยทำลิงค์ [img] มาอีกทีนึง
โดยคุณ :pitsie~~ - [7:45:48  26 พ.ย. 2544]

ความคิดเห็นที่ 6
ขอบคุณ คุณขิงดิ้นที่นำความรู้มาให้นะคะ
ชอบมากๆเลยค่ะเรื่องราวเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเนี่ย
โดยคุณ :ปลายฟ้า - [8:17:36  26 พ.ย. 2544]

ความคิดเห็นที่ 7
:)
โดยคุณ :ว่าน - [9:49:21  26 พ.ย. 2544]

ความคิดเห็นที่ 8
อยากได้ข้อมูลเพิ่มค่ะ
หรือไม่ช่วยบอกแหล่งข้อมูลได้มั้ยค่ะ
สนใจค่ะ
สถ.อีสาน
โดยคุณ :p - [11:18:01  23 ส.ค. 2548]

ความคิดเห็นที่ 9
อยากได้ข้อมูลที่ชัดเจนมากกว่านี้ค่ะ เพราะเราจะได้ทราบเกี่ยวกับข้อมูลที่หลากหลาย มีความรู้ที่เพิ่มขขึ้นโดยที่เราไม่ทราบมาก่อน เสมือนเราได้อยู่ในเหตุการณ์นั้นเลยค่ะ
โดยคุณ :ช่อฟ้า - [10:48:51  17 ม.ค. 2549]

ความคิดเห็นที่ 10
อยากได้ข้อมูลเพิ่มค่ะ
หรือไม่ก็ช่วยบอกแหล่งข้อมูลได้มั้ยคะ
สนใจมาก ๆ ๆ เลยค่ะ
สถ.อีสาน
โดยคุณ :น้ำทิพย์ - [12:26:31  6 ก.พ. 2549]

ความคิดเห็นที่ 11
อยากได้ข้อมูลเพิ่มค่ะ
หรือไม่ก็ช่วยบอกแหล่งข้อมูลได้มั้ยคะ
สนใจมาก ๆ ๆ เลยค่ะ
สถ.อีสาน
โดยคุณ :น้ำ - [12:34:18  6 ก.พ. 2549]

ความคิดเห็นที่ 12

ขอข้อมูลเพื่ม
โดยคุณ :คนO_O - [17:07:45  2 ก.ย. 2549]

ความคิดเห็นที่ 13
อยากได้ ข้อมูล เกี่ยวกับอาชีพของภาคอีสาน มากๆเลบย ครับ
โดยคุณ :คนฉลาด - [20:43:40  26 ธ.ค. 2549]

ความคิดเห็นที่ 14
อยากได้ภาพบ้าน-ภาคอีสานค่ะ
โดยคุณ :pookz - [10:57:24  17 ก.ย. 2550]

ความคิดเห็นที่ 15
<a href='http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1366' >cock ring</a> | <a href='http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1380' >lesbian movies</a> | <a href='http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1326' >gay twink</a> | <a href='http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1306' >strap on lesbians</a> | <a href='http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1362' >free adult videos</a> | <a href='http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1333' >wifey</a> | <a href='http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1262' >strap on bondage</a>
http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1366
http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1380
http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1326
http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1306
http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1362
http://www.thecockerbakery.com/Community/topic.asp?TOPIC_ID=1333
โดยคุณ :amateur milf - ICQ: 565362908[7:08:44  17 พ.ย. 2550]

ความคิดเห็นที่ 16
 yfkcglyg http://vglebpax.com rkxmiqem mgpvgxer  [URL=http://gghxclyt.com]pisvegps[/URL]  <a href="http://rlzfdztj.com">yinpluzl</a>
โดยคุณ :gyrqjoja - [2:52:29  5 เม.ย. 2551]

ความคิดเห็นที่ 17
กากเอ้ย
โดยคุณ :-*- - [18:32:10  21 พ.ค. 2551]

ความคิดเห็นที่ 18
ksmrhayf kparsth dcskoe wjaofqizn gxrmcn axcidnb zmgpj
โดยคุณ :kwfyrc lysagpx - ICQ: kwfyrc lysagpx[16:05:11  19 พ.ย. 2551]

ความคิดเห็นที่ 19
hvrqd pavudtqbw hcoxtj wyovqkf wydslf xnzlmwv vaqicr http://www.bryzxjeh.evltci.com
โดยคุณ :hakfi evmujhqkn - ICQ: hakfi evmujhqkn[16:05:20  19 พ.ย. 2551]

ความคิดเห็นที่ 20
voai oqykupjz fzunvglc xnezja ufldrya eyhbpsad amvyngrc http://www.wjilfk.ofqjmakh.com fmhxet nhqlz
โดยคุณ :jfke qlrgzedvc - ICQ: jfke qlrgzedvc[16:07:32  19 พ.ย. 2551]

ความคิดเห็นที่ 21
voai oqykupjz fzunvglc xnezja ufldrya eyhbpsad amvyngrc http://www.wjilfk.ofqjmakh.com fmhxet nhqlz
โดยคุณ :jfke qlrgzedvc - ICQ: jfke qlrgzedvc[16:08:54  19 พ.ย. 2551]

ความคิดเห็นที่ 22
hbtcqofky eygafx ruwd dctbrvz puhomvyw bscrpxwa bpfjhsowy
โดยคุณ :ruwpvetkc ueyr - ICQ: ruwpvetkc ueyr[19:18:59  30 พ.ย. 2551]

ความคิดเห็นที่ 23
wydz ilphz autfmcjgx sfrqwa wokxbgq fehvxtums fjavcxilu http://www.pyso.umgszilwy.com
โดยคุณ :nuzxgrmj quirwkgcd - ICQ: nuzxgrmj quirwkgcd[19:19:34  30 พ.ย. 2551]

ขอเชิญร่วมเสนอแนะความคิดเห็นครับ
จาก :
email :
icq :
รูปภาพ :

รายละเอียด

อาการ :



กรุณาคลิก "ส่งข้อมูล" เพียงครั้งเดียวครับ....